ตัวชี้วัด [ ยุทธศาสตร์จังหวัด - Monitor ]

ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2567 ที่ใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานพร้อมทั้งจัดเก็บข้อมูล



ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข งวดที่ 1 ปีงบฯ 2567
ประเภทตัวชี้วัด :: Monitoring
เป้าหมาย :: ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ จากแฟ้ม PERSON Typearea 1,3
ผลงาน   :: - คัดกรองซึมเศร้า 2Q จากแฟ้ม SPECIALPP รหัส 1B0280, 1B0281
การคำนวน =
A x 100
 
B

ตารางแสดงร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน ภาวะซึมเศร้า(2Q) [เกณฑ์ >=90 %]
รหัส หน่วยบริการ เป้าหมาย ผลงาน อัตรา สถานะ
03044 รพ.สต.บ้านจันดุม 1,089 1,089 100.00
03045 รพ.สต.บ้านโคกเจริญ 413 412 99.76
03046 รพ.สต.บ้านโคกขมิ้น 571 569 99.65
03047 รพ.สต.บ้านตาพระ 638 635 99.53
03048 รพ.สต.บ้านป่าชัน 784 771 98.34
03049 รพ.สต.บ้านสำโรง 1,098 980 89.25
10909 รพช.พลับพลาชัย 1,337 1,255 93.87
รวม 5,930 5,711 96.31
แหล่งข้อมูล : HDC [Template]ที่มา : BR-DATACENTER ณ วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 13:47:59 น.

ผลงานการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ งวดที่ 1 ปีงบฯ 2567
ตัวชี้วัด Template เกณฑ์ Detail หน่วยบริการ ภาพรวม
สสอ.
ภาพรวม
คปสอ.
03044 03045 03046 03047 03048 03049 10909
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข
 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 - M โรงพยาบาลมีการเชื่อมโยงข้อมูล PHR และส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแบบอิเล็กทรอนิกส์ >=90 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 100.00 0.00 100.00
 - M รพ.สต.มีการเชื่อมโยงข้อมูล PHR และส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแบบอิเล็กทรอนิกส์ >=70 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 0.00 100.00 100.00
กลุ่มงานควบคุมโรค
 งานวัคซีน
 - M ร้อยละหญิงมีครรภ์ได้รับวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ >=90 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV4 ตัดเป้าอายุครบ >=90 94.12 100.00 100.00 93.75 95.45 95.00 96.00 95.88 95.90
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ที่ได้รับวัคซีน MMR2 ตัดเป้าอายุครบ >=95 95.83 100.00 95.24 95.45 95.65 91.18 100.00 94.74 95.93
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE2 ตัดเป้าอายุครบ >=90 91.67 100.00 90.48 81.82 91.30 97.06 100.00 91.73 93.60
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP5 ตัดเป้าอายุครบ >=90 96.00 100.00 90.00 96.43 93.02 81.08 100.00 91.67 93.24
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV5 ตัดเป้าอายุครบ >=90 96.00 100.00 90.00 96.43 93.02 81.08 100.00 91.67 93.24
 - M นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับวัคซีน dTs >=95 100.00 100.00 100.00 0.00 100.00 93.10 100.00 85.19 87.83
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน BCG ตัดเป้าอายุครบ >=90 96.55 100.00 93.33 100.00 100.00 81.25 100.00 93.39 94.94
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน IPV1 ตัดเป้าอายุครบ >=90 86.21 100.00 93.33 100.00 96.43 81.25 100.00 90.08 92.41
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV3 ตัดเป้าอายุครบ >=90 89.66 100.00 93.33 93.75 100.00 93.75 100.00 94.21 95.57
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP-Hb3 ตัดเป้าอายุครบ >=90 89.66 100.00 93.33 100.00 100.00 84.38 100.00 92.56 94.30
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน MMR1 ตัดเป้าอายุครบ >=95 89.66 100.00 93.33 100.00 96.43 87.50 97.30 92.56 93.67
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE1 ตัดเป้าอายุครบ >=85 82.76 100.00 80.00 81.25 89.29 84.38 91.89 84.30 86.08
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน Rota2 ตัดเป้าอายุครบ >=90 89.66 100.00 93.33 100.00 100.00 90.63 100.00 94.21 95.57
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP4 ตัดเป้าอายุครบ >=90 94.12 100.00 100.00 93.75 95.45 95.00 96.00 95.88 95.90
 งาน CDC
 - M ประชาชนอายุ 35 – 70 ปี ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) >=80 96.23 95.27 99.51 95.24 90.46 95.39 95.38 95.06 95.13
 - M ผู้ป่วยโรค STROKE/STEMI ที่ติดบุหรี่เข้าสู่ระบบคลินิกอดบุหรี่ ร้อยละ 100 >=100 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
 - M อัตราตายมะเร็งท่อน้ำดีจังหวัดบุรีรัมย์ <= 5.84 12.61 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2.84 2.23
 - M ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง >=90 91.47 93.42 99.53 92.81 95.36 94.31 93.49 94.43 94.22
 - M ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน >=90 97.59 89.38 99.13 89.03 88.97 86.46 86.29 91.12 89.99
 - M ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับบริการ Telemedicine >=10 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 23.24 0.00 23.24
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
 งานผู้สูงอายุ
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน และ BMI >=90 99.45 98.31 99.65 95.77 97.19 87.34 88.78 95.58 94.05
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน ภาวะขาดสารอาหาร >=90 100.00 99.52 99.65 99.22 97.45 89.62 93.34 96.89 96.09
 - M การคัดกรองผู้สูงอายุ 10 เรื่อง BMI >=90 99.54 99.03 99.65 99.84 98.85 99.45 93.79 99.41 98.15
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน การมองเห็น >=90 100.00 99.76 99.65 99.37 98.47 89.80 93.79 97.15 96.39
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน การกลั้นปัสสาวะ >=90 100.00 99.76 99.65 99.06 98.34 89.34 93.87 96.97 96.27
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน การได้ยิน >=90 100.00 99.52 99.65 95.45 97.45 89.25 93.57 96.28 95.67
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน >=90 100.00 99.76 99.65 99.53 98.34 89.80 93.87 97.15 96.41
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน ความคิดความจำ >=90 100.00 99.76 99.65 96.55 98.21 89.62 93.79 96.67 96.02
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน ภาวะซึมเศร้า(2Q) >=90 100.00 99.76 99.65 99.53 98.34 89.25 93.87 97.02 96.31
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน การเคลื่อนไหว >=90 100.00 99.76 99.65 99.53 98.34 89.53 93.79 97.08 96.34
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้าน สุขภาพช่องปาก >=90 99.91 99.52 99.65 99.53 98.34 89.44 93.87 97.02 96.31
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุที่พบ Blinding cataract ได้รับการผ่าตัดใน 30 วัน >=0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
 งานผู้พิการ
 - M ร้อยละของคนพิการติดเตียงได้รับการดูแลเยี่ยมบ้าน >=90 0.00 100.00 100.00 100.00 100.00 0.00 100.00 100.00 100.00
 งานอนามัยแม่และเด็ก
 - M ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม < 7 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 9.76 0.00 4.88
 - M ร้อยละหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ >=75 100.00 100.00 100.00 60.00 75.00 100.00 100.00 84.21 93.48
 - M ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง <14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
 งานพัฒนาการเด็ก
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก >=80 79.35 95.45 87.50 91.07 99.19 100.00 99.63 92.37 96.66
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้ชั่งน้าหนัก/วัดส่วนสูง (ไตรมาส 2) >=90 85.27 89.77 98.96 97.34 87.34 82.91 100.00 89.28 92.04
 - M ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (เป้าหมาย ผลงาน (ไตรมาส 2) ) >=66 55.42 59.49 52.11 57.03 55.80 51.89 66.41 54.81 58.06
 งานอนามัยโรงเรียน
 - M ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 6- 14 ปี ที่มีภาวะเตี้ย [datacenter] (นำน้ำหนักส่วนสูง ไปคำนวนผลจากตารางการเจริญเติบโตของระบบ HDC) <=5 2.84 1.99 0.42 1.52 3.15 4.79 2.21 2.82 2.67
 - M ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 6-14 ปี ได้รับการคัดกรองสุขภาพ >=95 99.72 100.00 100.00 99.25 98.00 100.00 99.56 99.45 99.48
 - M ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน <=11.5 0.85 3.31 0.00 0.51 1.48 2.94 2.54 1.54 1.79
 - M ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 6-14 ปี ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน <=10 3.69 9.27 0.21 1.01 5.93 7.61 6.62 4.62 5.12
 - M ร้อยละเด็กวัยเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ(เตี้ย/อ้วน/ผอม)ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม >=95 98.67 100.00 0.00 100.00 100.00 97.62 100.00 98.94 99.11
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
 งานพัฒนาระบบทันตสุขภาพ
 - M ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และขัดทำความสะอาดฟัน เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน) >=55 55.56 100.00 77.78 58.82 68.75 41.67 56.25 60.94 59.38
 - M เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) >=50 47.18 40.00 90.79 58.33 67.32 83.58 44.98 65.85 60.09
 - M ร้อยละเด็ก 0-2 ปี ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ หรือ ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และplaque control >=50 53.52 40.00 98.68 75.93 83.66 84.33 50.20 75.04 68.18
 - M เด็ก 3-5 ปี ได้รับการเคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่ >=50 55.77 85.71 100.00 60.36 69.49 75.95 75.00 72.09 72.80
 - M เด็ก 6-12 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) >=30 19.39 19.66 37.85 35.39 37.79 19.18 49.40 28.07 32.85
 - M ผู้มีอายุ 15 - 59 ปี ได้รับบริการทันตกรรม >=25 84.02 40.36 36.66 18.53 76.61 27.25 12.71 48.11 39.13
 - M ผู้สูงอายุได้รับการบริการตรวจสุขภาพช่องปาก >=40 93.11 86.44 99.30 97.03 90.09 86.61 43.66 91.76 80.92
 - M ผู้สูงอายุ ที่ติดบ้าน ติดเตียงได้รับการตรวจช่องปาก >=40 100.00 88.89 100.00 95.74 100.00 0.00 84.54 96.90 91.59
 - M ร้อยละประชาชนอายุ 40 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง PMDs >=40 46.63 21.75 39.20 26.90 78.15 32.15 49.06 45.63 46.31
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
 งานคัดกรองตา
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสายตา >=60 83.21 97.55 100.00 80.63 94.76 82.13 52.91 87.93 80.15
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ-สุขภาพจิตและยาเสพติด
 งานบุหรี่-สุรา
 - M ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 >=68 80.92 99.67 99.25 82.09 84.62 83.31 33.99 86.32 73.47
 - M ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 >=68 80.75 99.12 99.20 81.45 84.48 80.70 32.69 85.49 72.53
 NCD
 - M ร้อยละของผู้ป่วยออทิสติกเข้าถึงบริการสุขภาพจิต >=65 0.00 100.00 0.00 0.00 100.00 0.00 300.00 100.00 200.00
 - M ร้อยละของผู้ป่วยสมาธิสั้นเข้าถึงบริการสุขภาพจิต >=30 92.86 85.71 88.89 50.00 100.00 92.86 108.33 88.89 92.42
 - M ร้อยละผู้ป่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการสุขภาพจิต >=75 84.48 100.00 112.90 125.00 89.29 112.77 596.55 101.92 162.45
 Tobe Number One
 - M มีสมาชิก TO BE NUMBER ONE ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 (ประชากรอายุ 6 - 24 ปี) >=95 97.49 100.00 99.90 99.73 100.00 97.49 99.91 98.84 99.10
กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
 งานแพทย์แผนไทย
 - M ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก >=37 31.03 65.95 50.71 60.06 39.90 39.26 0.00 46.04 46.04
ที่มา : BR-DATACENTER ณ วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 13:47:59 น.