ตัวชี้วัด [ยุทธศาสตร์จังหวัด]

ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2567 ที่ใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานพร้อมทั้งจัดเก็บข้อมูล



ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข งวดที่ 1 ปีงบฯ 2567
ประเภทตัวชี้วัด :: Monitoring
เป้าหมาย :: ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองรหัส ICD-10 (I60 - I69) หรือ STEMI หมายถึง ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด รหัส ICD -10 (I20 - I25) และได้รับการขึ้นทะเบียนมารับบริการที่อยู่อาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (TYPE AREA 1 และ 3) ที่ติดบุหรี่
ผลงาน   :: การให้บริการและการให้รหัส : สำหรับผู้ที่เข้ารับการบำบัดเพื่อเลิกบุหรี่
1B530 คือ การให้คำแนะนำผู้ติดบุหรี่แบบสั้น (Brief Advice: BA) สามารถดำเนินการโดยบุคลากร สาธารณสุขที่คลินิก OPD NCD คลินิกต่าง ๆ รวมถึงการให้บริการในพื้นที่แบบคลินิกเคลื่อนที่หรือการเยี่ยมบ้าน
1B531 คือ การให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ (Counseling Advice: CA) ซึ่งพิจารณาส่งเข้าคลินิก เลิกบุหรี่
1B532 คือ การให้คำปรึกษาและให้ยาเพื่อเลิกบุหรี่ (Counseling Advice + Medicine) พิจารณาตามความเหมาะสมเพื่อส่งเข้าคลินิกเลิกบุหรี่และอาจต้องพบแพทย์
ตารางแสดงผู้ป่วยโรค STROKE/STEMI ที่ติดบุหรี่เข้าสู่ระบบคลินิกอดบุหรี่ ร้อยละ 100 [เกณฑ์ >=100 %]
รหัส หน่วยบริการ เป้าหมาย ผลงาน อัตรา สถานะ
03044 รพ.สต.บ้านจันดุม 6 6 100.00
03045 รพ.สต.บ้านโคกเจริญ 3 3 100.00
03046 รพ.สต.บ้านโคกขมิ้น 11 11 100.00
03047 รพ.สต.บ้านตาพระ 19 19 100.00
03048 รพ.สต.บ้านป่าชัน 23 23 100.00
03049 รพ.สต.บ้านสำโรง 3 3 100.00
10909 รพช.พลับพลาชัย 1 1 100.00
รวม 66 66 100.00
แหล่งข้อมูล : HDCเงื่อนไขสสจ. [Template]ที่มา : BR-DATACENTER ณ วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 12:39:42 น.

ผลงานการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ งวดที่ 1 ปีงบฯ 2567
ตัวชี้วัด Template เกณฑ์ Detail หน่วยบริการ ภาพรวม
สสอ.
ภาพรวม
คปสอ.
03044 03045 03046 03047 03048 03049 10909
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข
 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 - E โรงพยาบาลมีการให้บริการtelemedicine ตามเป้าหมายที่กําหนด >=100 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,608.61 0.00 1,608.61
กลุ่มงานควบคุมโรค
 งาน CDC
 - M ประชาชนอายุ 35 – 70 ปี ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) >=80 96.23 95.27 99.51 95.24 90.46 95.39 95.38 95.06 95.13
 - M ผู้ป่วยโรค STROKE/STEMI ที่ติดบุหรี่เข้าสู่ระบบคลินิกอดบุหรี่ ร้อยละ 100 >=100 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
 - M ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับบริการ Telemedicine >=10 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 23.24 0.00 23.24
 - E ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม >=80 100.00 83.33 100.00 98.97 100.00 100.00 100.00 99.49 99.55
 - E ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม >=80 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
 งานผู้สูงอายุ
 - M ร้อยละของผู้สูงอายุที่พบ Blinding cataract ได้รับการผ่าตัดใน 30 วัน >=0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
 - E ผู้สูงอายุติดสังคมเป็นผู้สูงอายุ 4 ดี (TDEE) >=80 99.21 87.73 100.00 85.45 92.93 95.13 87.20 94.38 93.54
 - E ร้อยละของผู้สูงอายุติดสังคมที่พบ Blinding cataract ได้รับการผ่าตัดใน 30 วัน >=30 0.00 100.00 0.00 0.00 0.00 100.00 100.00 66.67 75.00
 งานวัยรุ่น
 - E ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) >=65 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
 - E ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำ ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี <=13 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
 งานอนามัยแม่และเด็ก
 - M ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม < 7 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 9.76 0.00 4.88
 - M ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง <14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
 - E ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟลิก >=100 0.00 0.00 0.00 0.00 100.00 0.00 100.00 100.00 100.00
 - E ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์ คุณภาพ >=70 100.00 100.00 100.00 66.67 100.00 100.00 100.00 90.91 96.55
 งานพัฒนาการเด็ก
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก >=80 79.35 95.45 87.50 91.07 99.19 100.00 99.63 92.37 96.66
 - M ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้ชั่งน้าหนัก/วัดส่วนสูง (ไตรมาส 2) >=90 85.27 89.77 98.96 97.34 87.34 82.91 100.00 89.28 92.04
 - E ร้อยละของเด็ก 6-12 เดือน ได้รับการคัดกรอง Hct./CBC. >=80 96.67 100.00 100.00 100.00 100.00 96.97 95.12 98.47 97.67
 - E ร้อยละของเด็ก 6-12 เดือนพบภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก <=30 0.00 0.00 0.00 5.56 0.00 3.13 2.56 1.55 1.79
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
 งานพัฒนาระบบทันตสุขภาพ
 - M เด็ก 6-12 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ (คน) (ใช้แบบความครอบคลุม) >=30 19.39 19.66 37.85 35.39 37.79 19.18 49.40 28.07 32.85
 - M ผู้มีอายุ 15 - 59 ปี ได้รับบริการทันตกรรม >=25 84.02 40.36 36.66 18.53 76.61 27.25 12.71 48.11 39.13
 - M ร้อยละประชาชนอายุ 40 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง PMDs >=40 46.63 21.75 39.20 26.90 78.15 32.15 49.06 45.63 46.31
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ-สุขภาพจิตและยาเสพติด
 NCD
 - E ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (นับเป้าตามtype1,3 ) หาร 5 ผลงานคัดกรองในปีงบนี้ >=70 162.06 113.25 132.90 53.57 60.03 41.48 52.58 84.10 76.64
 - E ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไสใหญ่และไส้ตรง ***นับเป้าหมาย 10 % **** >=55 0.94 593.68 670.04 421.86 435.55 491.93 123.38 407.60 343.13
กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
ที่มา : BR-DATACENTER ณ วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 12:39:42 น.